Page 60 - บริษัท อีสเทิร์นโพลีเมอร์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | รายงานประจำปี 2558
P. 60

อ่ืนแทนที่วัตถุดิบชนิดเดิม อาทิ บริษัทอาจพิจารณาจ�ำหน่าย                          การตดิ ไฟของวสั ดทุ ที่ นั สมยั แหง่ หนงึ่ ของประเทศ และในสว่ นของ
ถ้วยน�้ำพลาสติกประเภท PET แทนท่ีถ้วยน้ําพลาสติกประเภท                             บริษัท EPP ก็ยังได้ลงทุนในส่วนของศูนย์วิจัยและพัฒนา
PP หรือ PS ภายใตค้ ณุ สมบัติท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ                                    ทางชวี ภาพเพอื่ ความปลอดภยั ของบรรจภุ ณั ฑอ์ าหารและเครอ่ื งดม่ื
ความเสีย่ งจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี                                             เปน็ ตน้
เนื่องด้วยกลุ่มบริษัทด�ำเนินธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์                        ความเสย่ี งทอ่ี าจจะสญู เสยี รายไดห้ รอื สญู เสยี ผลการด�ำเนนิ งาน
ประเภทพลาสตกิ โดยกลมุ่ บรษิ ทั มรี ายไดท้ งั้ หมดจากการแปรรปู                     หากเกดิ วนิ าศภยั และภยั ธรรมชาตกิ บั โรงงานหรอื เครอ่ื งจกั ร
พลาสตกิ และยางสงั เคราะห์ (Plastic and Polymer Conversion)                        ของบริษัท
ซึ่งในการแปรรูปพลาสติกและยางสังเคราะห์ของกลุ่มบริษัทท�ำ                           ธรุ กจิ หลกั ของบรษิ ทั ยอ่ ย คอื ธรุ กจิ การผลติ เพอ่ื จำ� หนา่ ยซงึ่ จำ� เปน็
ด้วยหลากหลายเทคโนโลยี (Technology) เช่น เทคโนโลยี                                 ต้องพ่ึงพาโรงงานและเครื่องจักรเป็นส�ำคัญ หากโรงงาน หรือ
Mixing and Compounding เทคโนโลยี Extrusion เทคโนโลยี                              เครอื่ งจกั รเกดิ ความเสยี หายหรอื ประสบวนิ าศภยั หรอื ภยั ธรรมชาติ
Injection เทคโนโลยี Thermoform เทคโนโลยี Blow Mold                                จนท�ำให้ไม่สามารถผลิตได้เต็มก�ำลังการผลิต หรือ จ�ำเป็นต้อง
เทคโนโลยี Reaction Injection Molding (R.I.M.) ซ่งึ หากบริษทั                      หยุดการผลิต ซ่ึงจะส่งผลให้ผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย
คู่แข่งของกลุ่มบริษัทสามารถคิดค้นเทคโนโลยีท่ีดีและทันสมัย                         มีผลการด�ำเนินงานลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ตลอดจนอาจส่งผล
กว่าซ่ึงสามารถท�ำให้ลดต้นทุนการผลิตได้ ก็อาจส่งผลต่อ                              ต่อการสูญเสียลูกค้ารายส�ำคัญ เน่ืองจากลูกค้าดังกล่าวจ�ำเป็น
ข้อได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competition Advantage) ของ                             จะตอ้ งหาผผู้ ลติ รายอน่ื มาแทนทบ่ี รษิ ทั ยอ่ ยดงั กลา่ ว อกี ทงั้ การที่
กลมุ่ บรษิ ทั และหากกลมุ่ บรษิ ทั ไมส่ ามารถปรบั เปลยี่ นเทคโนโลยี                บริษัทย่อย จะเอาลูกค้ารายดังกล่าวกลับคืนมาเมื่อโรงงานหรือ
การผลิตได้อย่างทันท่วงทีก็อาจส่งผลต่อผลการด�ำเนินงานได้                           เครื่องจักรซ่อมแล้วเสร็จอาจท�ำได้ยากนอกเหนือจากประเด็น
อยา่ งมีนยั สำ� คญั                                                               ดังกล่าวบริษัทย่อย ยังจ�ำเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายในการเพิ่มเติม
นอกเหนือจากเทคโนโลยีในทางด้านการผลิต วัตถุดิบพลาสติก                              ในการซอ่ มบำ� รงุ สรา้ งโรงงานใหม่ หรอื ซอ้ื เครอ่ื งจกั รใหมเ่ พอ่ื ให้
ซึง่ มีคณุ สมบัตพิ เิ ศษ ซึง่ ทำ� ให้ผลติ ภณั ฑข์ องกลุ่มบริษทั โดดเดน่           สามารถด�ำเนนิ ธรุ กิจต่อไปในอนาคตได้
กวา่ คแู่ ขง่ ซง่ึ จดั เปน็ ปจั จยั หลกั ในการพจิ ารณาซอ้ื ผลติ ภณั ฑข์ อง        โดยบรษิ ทั ยอ่ ย ตระหนกั ดถี งึ การบรหิ ารความเสย่ี งดงั กลา่ ว จงึ ไดม้ ี
ลูกค้า ทั้งนี้หากบริษัทคู่แข่งสามารถคิดค้นวัสดุชนิดใหม่ซึ่งมี                     การทำ� ประกนั ภยั เพอื่ ปอ้ งกนั ความเสยี่ งในกรณปี ระสบวนิ าศภยั
คณุ สมบตั ดิ กี วา่ อาจสง่ ผลในเชงิ ลบตอ่ ผลประกอบการของกลมุ่                     หรือ ภัยธรรมชาติ นอกจากน้ันเพื่อเป็นการป้องกันเหตุการณ์
บรษิ ัท หรอื อาจประสบภาวะขาดทุนได้                                                ดังกล่าวทางบริษัทได้มีมาตรการป้องกันและเตรียมการต่างๆ
อย่างไรก็ดี กลุ่มบริษัทได้เห็นความส�ำคัญของเทคโนโลยีและ                           เพอ่ื ใหบ้ รษิ ทั สามารถดำ� เนนิ ธรุ กจิ ตอ่ ไปไดเ้ มอื่ เกดิ วนิ าศภยั หรอื
ความเสย่ี งดงั กลา่ ว ดงั นน้ั บรษิ ทั จงึ ลงทนุ ใน บรษิ ทั อพี จี อี นิ โนเวชนั  ภัยธรรมชาติท่ีรนุ แรงและสง่ ผลกระทบตอ่ บรษิ ทั โดยตรง
เซน็ เตอร์ จำ� กดั (“EIC”) เพอ่ื ดำ� เนนิ การคน้ ควา้ และวจิ ยั ตลอดจน            	
พฒั นาผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ ใหแ้ ก่กลุ่มบริษทั โดย EIC มศี นู ยท์ �ำการ                ความเส่ียงจากค่าเสียหายเนื่องจากปัญหาด้านคุณภาพ
ทดลองซงึ่ อาจจดั ไดว้ า่ เปน็ ศนู ยท์ ำ� การทดลองทางดา้ นโพลเี มอร์               ของสินค้า
และพลาสตกิ ทใ่ี หญแ่ ละทนั สมยั แหง่ หนงึ่ ในทวปี เอเชยี ตะวนั ออก                ประเทศไทยและประเทศอ่นื ๆ ในโลก ส่วนมากมักจะมีกฎหมาย
เฉยี งใต้ รวมถงึ วา่ จา้ งนกั วจิ ยั ทม่ี คี วามรคู้ วามชำ� นาญมารว่ มวจิ ยั      ท่ีระบุถึงความรับผิดชอบต่อความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากสินค้าที่
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ นอกจากการวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ EIC                                ไม่ปลอดภัย หรอื ไมม่ คี ุณภาพ ซึ่งกฎหมายดงั กลา่ วมกั ระบุใหผ้ ู้
ยงั ดำ� เนนิ การพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ ดมิ ใหม้ คี ณุ สมบตั ทิ โี่ ดดเดน่ มากขน้ึ     ผลิตเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบในความเสียหายดงั กลา่ ว ไมว่ า่ การกระทำ�
รวมถงึ พฒั นาการผลติ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู มากขน้ึ ทง้ั นด้ี ว้ ยการวจิ ยั      ดังกล่าวจะเกิดจากการกระท�ำโดยการจงใจ หรือ ประมาท
อย่างต่อเนื่องจึงส่งผลให้ท่ีผ่านมาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มบริษัทมี                       เลนิ เลอ่ ของผผู้ ลติ ก็ตาม เพราะฉะนนั้ หากผลิตภณั ฑ์ของ บรษิ ทั
ลกั ษณะท่โี ดดเดน่ กว่าคแู่ ข่งมาโดยตลอด                                          บริษัทย่อย หรือ บริษัทร่วม ของบริษัทถูกฟ้องร้องจากผู้บริโภค
ในขณะเดียวกันบริษัทย่อยเช่น บริษัท AFC ก็มีการลงทุน                               อาจส่งผลให้บริษัทย่อย หรือ บริษัทร่วมดังกล่าวด�ำเนินการ
ศนู ยเ์ ฉพาะดา้ น เชน่ การพฒั นาโพลเี มอรท์ นไฟ หรอื ศนู ยท์ ดสอบ                 ร่วมรับผิดชอบด้วย นอกจากนั้นหากความผิดดังกล่าวเกิดจาก
                                                                                  การกระท�ำของบริษัทย่อย หรือ บริษัทร่วมทั้งในกรณีท่ีเกิดจาก

58
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65